Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
24 – 28
พ.ย. 2557
|
โจทย์
- การเมืองการปกครอง
- ประชากร (การศึกษา, ศาสนา,
ภาษา)
Key Question
นักเรียนคิดว่าการเมืองการปกครองที่ประเทศที่ตนเองศึกษามีการปกครองอย่างไร
เครื่องมือคิด
Show and Share
- นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศ
- นำเสนอชิ้นงานเกี่ยวกับระบอบการปกครองและจำนวนประชากร (การศึกษา, ศาสนา,
ภาษา) แต่ละประเทศ
Wall thinking
- ติดชิ้นงานชิ้นงานเกี่ยวกับระบอบการปกครองและจำนวนประชากร (การศึกษา, ศาสนา,
ภาษา) แต่ละประเทศ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษชาร์ต
- แผนที่
- อินเตอร์เน็ต
|
จันทร์
ชง : ครูเล่าเรื่องการปกครองของประเทศซีแลนด์
ให้นักเรียนฟัง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ได้ฟัง”
เชื่อม : นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็น
อังคาร
ชง : ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าการเมืองการปกครองที่ประเทศที่ตนเองศึกษามีการปกครองอย่างไร”
เชื่อม : นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสืบค้นข้อมูล
ใช้ : นักเรียนแต่ละคนออกแบบชิ้นงานเพื่อนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่คิดศึกษาในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจ(Model, เพลง, ชาร์ต, รายงาน, การ์ตูนช่อง, power point ฯลฯ)
พุธ
เชื่อม : นักเรียนแต่ละคนนำเสนอชิ้นงาน
-
ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนอ
ศุกร์
ชง : ครูเล่าเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายของประเทศสิงค์โปร
(หมากฝรั่งกับรถไฟฟ้า)
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไร
นักเรียนคิดว่าอะไรคือปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลทางการเมือง
และการปกครองของแต่ละประเทศ”
เชื่อม : นักเรียนแต่ละคนสืบค้นและนำเสนอข้อมูล
-
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากเรื่องเล่า ประเทศซีแลนด์
-
สืบค้นและนำเสนอข้อมูลการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศ
-
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองของแต่ละประเทศ
-
สืบค้นและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองของแต่ละประเทศ
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ชิ้นงานถ่ายทอดความเข้าใจการเมืองการปกครอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายการเมืองการปกครองที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ รวมถึงที่มาและจำนวนประชากร (การศึกษา, ศาสนา, ภาษา) และสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ในรูปแบบที่น่าสนใจเพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
การอยู่ร่วมกันทำงานร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้ของแต่ละประเทศร่วมกัน
ทักษะการวางแผน
การวางแผนในการทำงานศึกษาข้อมูลระบอบการปกครองและจำนวนประชากร ของแต่ละประเทศ
- ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของแต่ละประเทศกับระบอบการปกครอง
ทักษะICT
สืบค้นข้อมูลและสร้างสรรค์ชิ้นงานจากสื่อเกี่ยวกับระบอบการปกครองและจำนวนประชากรของแต่ละประเทศ
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติต่อหลักสำคัญของการเรียนรู้เกี่ยวกับระบอบการปกครองและจำนวนประชากรของแต่ละประเทศ
- การอธิบายตำแหน่งและสถานที่ตั้งของประเทศที่ใช้เป็นแหล่งศึกษาเกี่ยวกับระบอบการปกครองและจำนวนประชากรของแต่ละประเทศ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
บันทึกความคืบหน้าข้าวสินเหล็กในสัปดาห์ที่ 5 การปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2000 เมล็ด (ครั้งที่2)
ในสัปดาห์ที่อากาศเริ่มจะหนาวแล้ว ลมพัดมาเกือบตลอดทั้งวัน แต่ก็บางช่วงของวันก็ยังร้อนอบอ้าว ทำให้ต้นข้าวเริ่มเหี่ยว บางท่อต้องเติมเกือบตลอดวันต่อวัน เพราะบางท่อไม่เก็บน้ำเช่นดังครั้งแรกที่เคยกล่าวไว้
_เด็กๆ แก้ปัญหาร่วมกัน แบ่งหน้าที่เพื่อน ให้ช่วยกันเติมน้ำในท่อให้เป็นประจำ บางท่อมีมดและตั๊กแตนมารบกวนบริเวณท่อปลูกข้าว
เป็นอีกปัญหาที่เข้ามาท้าทายใหม่ในการเรียนรู้ครั้งที่ 2 นี้ เพราะสภาพอากาศต่างจากครั้งแรก

ในสัปดาห์นี้ต่อจากเรื่องราวประวัติศาสตร์ที่นักเรียนทุกคนได้สร้างชิ้นงานอย่างต่อเนื่อง

_ทุกคน(เหลือพี่ไข่มุก..ลาเมื่อวานนี้) นำเสนอเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ประเทศของแต่ละคน มาเล่าสู่เพื่อนๆ และคุณครูรับฟัง พร้อมซักถามตอนท้ายของแต่ละคน
*สร้างชิ้นงานเป็นเส้นทางกาลเวลา เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของแต่ละปี ค.ศ. หรือ พ.ศ. พร้อมนักเรียนแต่ละคนบันทึกความเข้าใจลงในสมุด PBL
ชิ้นงานสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
บันทึกความคืบหน้าข้าวสินเหล็กในสัปดาห์ที่ 5 การปลูกข้าว 4 เมล็ด ให้ได้ 2000 เมล็ด (ครั้งที่2)
ตอบลบในสัปดาห์ที่อากาศเริ่มจะหนาวแล้ว ลมพัดมาเกือบตลอดทั้งวัน แต่ก็บางช่วงของวันก็ยังร้อนอบอ้าว ทำให้ต้นข้าวเริ่มเหี่ยว บางท่อต้องเติมเกือบตลอดวันต่อวัน เพราะบางท่อไม่เก็บน้ำเช่นดังครั้งแรกที่เคยกล่าวไว้
_เด็กๆ แก้ปัญหาร่วมกัน แบ่งหน้าที่เพื่อน ให้ช่วยกันเติมน้ำในท่อให้เป็นประจำ บางท่อมีมดและตั๊กแตนมารบกวนบริเวณท่อปลูกข้าว
เป็นอีกปัญหาที่เข้ามาท้าทายใหม่ในการเรียนรู้ครั้งที่ 2 นี้ เพราะสภาพอากาศต่างจากครั้งแรก
PBL : Hello the world - ยินดีที่ได้รู้จัก
ในสัปดาห์นี้ต่อจากเรื่องราวประวัติศาสตร์ที่นักเรียนทุกคนได้สร้างชิ้นงานอย่างต่อเนื่อง
_หลังจากที่นักเรียนช่วยทางโรงเรียนเกี่ยวข้าวจนเสร็จ ในสัปดาห์นี้นักเรียนทำชิ้นงาน Timeline ประวัติศาสตร์จนเสร็จ
_ทุกคน(เหลือพี่ไข่มุก..ลาเมื่อวานนี้) นำเสนอเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ประเทศของแต่ละคน มาเล่าสู่เพื่อนๆ และคุณครูรับฟัง พร้อมซักถามตอนท้ายของแต่ละคน
*สร้างชิ้นงานเป็นเส้นทางกาลเวลา เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของแต่ละปี ค.ศ. หรือ พ.ศ. พร้อมนักเรียนแต่ละคนบันทึกความเข้าใจลงในสมุด PBL